คลังเก็บหมวดหมู่: นรากร พุทธโฆษ์

วิทยากรโครงการ สัมมนาอาคารเขียวท้องถิ่น 12 มีนาคม 2559

วิทยากรโครงการ สัมมนาอาคารเขียวท้องถิ่น 12 มีนาคม 2559

วิทยากร วิถีสีเขียว
ผศ.ดร.ประพันธ์พงศ์ จงปติยัตต์

วิทยากร จากสถาปัตยกรรมสมัยใหม่สู่อาคารท้องถิ่นสีเขียว
ผศ.ดร.ชำนาญ บุญญาพุทธิพงศ์

วิทยากร วัสดุท้องถิ่นและวัสดุอาคารเขียว
อ.นรากร พุทธโฆษ์

วิทยากร อุณหภาพอาคารท้องถิ่น
ผศ.พรสวัสดิ์ พิริยะศรัทธา

วิทยากร แสงสว่างกับอาคารท้องถิ่น
รศ.ดร.ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล

วิทยากร อาคารเขียวกับการประยุกต์ใช้เพื่อการออกแบบอาคารราชการ
รศ.ดร.ชูพงษ์ ทองคำสมุทร

วิทยากร ชุมชนท้องถิ่นยั่งยืน
อ.ดร.นยทัต ตันมิตร

กำหนดการจัดอบรมสัมมนา-LGB-5

 

กรรมการ TOR ซ่อม AR02

กรรมการ TOR ซ่อม AR02 มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.ธันฐกรณ์ พงศ์พิมล , อ.นรากร พุทธโฆษ์ , อ.อรรถ ชมาฤกษ์ , อ.พีร์นิธิ อักษร – 5 พฤศจิกายน 2558

 

กรรมการร่าง TOR แก้ไขอาคารทรุด AR

 

ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความ ครั้งที่ 3 / 2559 / BTAC 2016

ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความงานประชุมวิชาการเทคโนโลยีอาคารด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3 / 2559 / BTAC 2016 (วันที่ 1 เมษายน – 30 พฤษภาคม 2559)

รศ.กุลศรี ตั้งสกุล 2

ผศ.ดร.ชำนาญ บุญญาพุทธิพงศ์ 6

รศ.ดร.ชูพงษ์ ทองคำสมุทร 6

อ.ดร.นยทัต ตันมิตร 2

อ.นรากร พุทธโฆษ์ 1

ผศ.ดร.ประพันธ์พงศ์ จงปติยัตต์ 2

ผศ.พรสวัสดิ์ พิริยะศรัทธา 3

รศ.ดร.ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล 6

ผศ.รท.อรรถ ชมาฤกษ์ 1

รายชื่อผู้ทรงคุณวุมิอ่านบทความงานประชุมBTAC-2016-พค59

 

ประเมินโครงการวิจัย 24 กุมภาพันธ์ 2559 0514.19.1.4/30

ประเมินโครงการวิจัย 24 กุมภาพันธ์ 2559

นรากร พุทธโฆษ์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

panuph_16-3-2559_15-59-05

ออกแบบหอนักศึกษาแพทย์ที่ 3 8 มีนาคม 2559

ออกแบบหอนักศึกษาแพทย์ที่ 3

8 มีนาคม 2559

คณะแพทยศาสตร์

อ.นรากร พุทธโฆษ์

อ.ธันฐกรณ์ พงศ์พิมล

อ.รัตติกร ศิริขันธ์ บุตรลา

panuph_8-3-2559_8-51-03

 

 

รายชื่ออาจารย์ ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ BTAC 22 – 23 พฤษภาคม 2558

ส่งไฟล์ผลงานอาจารย์ อ่าน BTAC

ผศ.ดร. ชูพงษ์ ทองคำสมุทร  10

1 ประสิทธิภาพของ Thermoelectric Generator เมื่อใช้งานกับเปลือกอาคารและผนังระบบ Airflow window
2 การลดการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังอาคารโดยการบังแดด
3 การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำความเย็นของการระบายอากาศแบบ Thermoelectric ด้วย Heat sink
4 สภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพสำหรับผู้สูงอายุในบ้านพักคนชราประเทศไทย
5 การศึกษาระบบปรับอากาศ และแสงสว่างในพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อใช้ในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีสภาวะความสบายกรณีศึกษา : อาคารของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ
6 ผลกระทบของรูปทรง การวางทิศทาง และเปลือกอาคารชุดพักอาศัยต่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน เปรียบเทียบกับอาคารตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 2010
7 ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะน่าสบายและทัศนียภาพของอาคารเขียวตามเกณฑ์ลีด (LEED) ในประเทศไทย
8 การศึกษาอิทธิพลการโคจรของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่ออุณหภูมิอากาศในอาคารในจังหวัดขอนแก่น
9 การศึกษาการใช้น้ำหมุนเวียนในอาคารสิริคุณากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
10 การใช้ระบบสะสมน้ำเย็นในระบบปรับอากาศ

ผศ. พรสวัสดิ์ พิริยะศรัทธา 6

1 ความสัมพันธ์ระหว่างสภาวะน่าสบายและทัศนียภาพของอาคารเขียวตามเกณฑ์ลีด (LEED) ในประเทศไทย
2 การลดการถ่ายเทความร้อนผ่านผนังอาคารโดยการบังแดด
3 สภาวะน่าสบายเชิงอุณหภาพสำหรับผู้สูงอายุในบ้านพักคนชราประเทศไทย
4 การศึกษาระบบปรับอากาศ และแสงสว่างในพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อใช้ในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีสภาวะความสบายกรณีศึกษา : อาคารของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ
5 การศึกษาการใช้น้ำหมุนเวียนในอาคารสิริคุณากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น
6 การศึกษาการใช้เซลล์แสงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานในการบำบัดน้ำเสียจากการทำยางพาราแผ่นด้วยโอโซน

ผศ.ดร. ชำนาญ บุญญาพุทธิพงศ์ 7

1 สภาวะน่าสบายด้านอุณหภูมิในเรือนพื้นถิ่นอีสานตอนกลาง
2 การเพิ่มปริมาณก๊าซชีวภาพโดยการปรับสภาพน้ำเสียจากการผลิตยางพาราแผ่นดิบด้วยขี้เถ้าไม้ยางพารา
3 เครื่องปรับอากาศแบบทำงานร่วมกับระบบสะสมน้ำเย็นและระบบโซลาร์เซลล์
4 การศึกษาอิทธิพลการโคจรของดวงอาทิตย์ที่มีผลต่ออุณหภูมิอากาศในอาคารในจังหวัดขอนแก่น
5 การเปรียบเทียบอุณหภูมิและความชื้นภายในอาคารที่ใช้แนวทางการออกแบบพึ่งพาธรรมชาติในเขตร้อนชื้น
6 ประสิทธิภาพของ Thermoelectric Generator เมื่อใช้งานกับเปลือกอาคารและผนังระบบ Airflow window
7 ประสิทธิภาพทางความร้อนของผนังไม้ไผ่ในบ้านเขตร้อนชื้น

รศ.ดร. ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล 7

รศ.ดร. ยิ่งสวัสดิ์ ไชยะกุล 7
1 การกำหนดเกณฑ์ปริมาณแสงสว่างสำหรับประเทศไทย: การทบทวนแนวทางและวิธีการศึกษา
2 การเพิ่มประสิทธิภาพในการทำความเย็นของการระบายอากาศแบบ Thermoelectric ด้วย Heat sink
3 การผลิตน้ำมันชีวภาพจากเศษวัสดุที่เหลือทิ้งทางการเกษตรโดยกระบวนการไพโรไลซีสแบบเร็ว
4 การออกแบบแสงสว่างบริเวณโถงที่ประดิษฐานพระพุทธรูปภายในสถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนาในกรุงเทพมหานคร
5 การศึกษาการปรับปรุงหลอดไฟแสงสว่างเพื่อการประหยัดพลังงานในอาคารศูนย์อาหารและบริการ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
6 การเปรียบเทียบอุณหภูมิและความชื้นภายในอาคารที่ใช้แนวทางการออกแบบพึ่งพาธรรมชาติในเขตร้อนชื้น
7 การใช้ระบบสะสมน้ำเย็นในระบบปรับอากาศ

ผศ.  ประพันธ์พงศ์ จงปติยัตต์ 4

1 ประสิทธิภาพในการป้องกันความร้อนของฝ้าเพดานต้นอ้อ
2 เครื่องปรับอากาศแบบทำงานร่วมกับระบบสะสมน้ำเย็นและระบบโซลาร์เซลล์
3 การเพิ่มสมรรถนะเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนด้วยการนำน้ำคอนเดนเสทกลับมาช่วยแลกเปลี่ยนความร้อนของคอนเดนเซอร์
4 ประสิทธิภาพทางความร้อนของผนังไม้ไผ่ในบ้านเขตร้อนชื้น

อ. นรากร พุทธโฆษ์ 3

1 การเพิ่มปริมาณก๊าซชีวภาพโดยการปรับสภาพน้ำเสียจากการผลิตยางพาราแผ่นดิบด้วยขี้เถ้าไม้ยางพารา
2 ผลกระทบของรูปทรง การวางทิศทาง และเปลือกอาคารชุดพักอาศัยต่อประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน เปรียบเทียบกับอาคารตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 2010
3 ประสิทธิภาพในการป้องกันความร้อนของฝ้าเพดานต้นอ้อ

ผศ. รท.  อรรถ ชมาฤกษ์  3

1 การออกแบบแสงสว่างบริเวณโถงที่ประดิษฐานพระพุทธรูปภายในสถาปัตยกรรมทางพระพุทธศาสนาในกรุงเทพมหานคร
2 การศึกษาการปรับปรุงหลอดไฟแสงสว่างเพื่อการประหยัดพลังงานในอาคารศูนย์อาหารและบริการ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3 สภาวะน่าสบายด้านอุณหภูมิในเรือนพื้นถิ่นอีสานตอนกลาง

ผศ.  กุลศรี ตั้งสกุล 2

1 ผลของระดับความสว่างที่แนะนำ และผลของความต่างระหว่างงานกับพื้นหลังที่มีต่อความสามารถในการมองเห็นในห้องเรียน
2 การกำหนดเกณฑ์ปริมาณแสงสว่างสำหรับประเทศไทย: การทบทวนแนวทางและวิธีการศึกษา